วันพุธที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ส่งสารด้วยการพูด

 ส่งสารด้วยการพูด   
    การพูดมีความสำคัญกับมนุษย์เราอย่างมาก ไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่ใด ประกอบกิจกรรมใด ส่วนหนึ่งของการพูดนั้นสามารถสอนและฝึกกันได้ ซึ่งการพูดที่มีประสิทธิภาพเกิดจากการสังเกตและการฝึกฝน (การพูดที่มีประสิทธิภาพหมายถึงการพูดที่ชัดเจน พูดได้ตรงตามความคิดของผู้พูดหรือเนื้อเรื่องที่พูด สามารถรวบรวมเนื้อหาได้ตรงประเด็น)
การพูดแบ่งได้ 2 ประการ คือ การพูดร  อ่านเพิ่มเติม



การสื่อสารของมนุษย์

 การสื่อสารของมนุษย์
การสื่อสาร หมายถึง  วิธีการต่าง ๆ ในการติดต่อระหว่างมนุษย์  ซึ่งทำให้อีกฝ่ายหนึ่งรับรู้ความหมายของอีกฝ่ายหนึ่ง  หรือกระบวนการของมนุษย์ในการแลกเปลี่ยนความรู้  ความรู้สึกนึกคิด  ความต้องการ  ทัศนคติ  และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
องค์ประกอบของการสื่อสาร  
การสื่อสาร มี องค์ประกอบที่สำคัญ  ได้แก่  บุคคลสองฝ่าย  สาร  สื่อ
บุคคลสองฝ่าย  คือ ผู้ส่ อ่านเพิ่มเติม



รับสารด้วยการฟัง

         การฟัง  คือ การรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยิน เป็นกระบวนการทำงานของสมอง ส่วนการได้ยินเป็นจุดเริ่มต้นของการฟัง เป็นเพียงการกระทบกันของเสียงกับประสาทหูตามปกติ
จุดมุ่งหมายของการฟัง    
1.   เพื่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน  การฟังประเภทนี้ทำให้มนุษย์คงความสัมพันธ์ที่ดีตลอดไปซึ่งเป็นพฤติกรรมปรกติของมนุษย์
2.  เพื่อความเพลิดเพลิน   เป็นการฟังเพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด จัดเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมนันทนาการ  การฟังประเภทนี้ขึ้นอยู่กับรสนิยมของผู้ฟัง.
3.  เพื่อรับความรู้    เป็  อ่านเพิ่มเติม
  

วรรณคดี

            วรรณคดี  หมายถึง  วรรณกรรมหรืองานเขียนที่ยกย่องกันว่าดี มีสาระ และมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ การใช้คำว่าวรรณคดีเพื่อประเมินค่าของวรรณกรรมเกิดขึ้นในพระราชกฤษฎีกาตั้งวรรณคดีสโมสรในสมัยรัชกาลที่ 6

วรรณคดี เป็นวรรณกรรมที่ถูกยกย่องว่าเขียนดี มีคุณค่า สามารถทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจ มีความคิดเป็นแบบแผน ใช้ภาษาที่ไพเราะ เหมาะแก่การให้ประชาชนได้รับรู้ เพราะสามารถยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น รู้ว่าอะไรควรหรือไม่ควร   สำหรับในภาษาไทย วรรณคดี ปรากฏครั้งแรกในหนังสือพระราชกฤษฎีกาตั้งวรรณคดีสโมสร วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 โดยมีความหมายคือ หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี นั้นคือมีการใช้ภาษาอย่างดี มีศิลปะการแต่งที่ยอดเยี่ยมทั้งด้านศิลปะการใช้คำ ศิลปะการใช้โวหารและถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ และภาษานั้นให้ความหมา อ่านเพิ่มเติม


พลังของภาษา

            พลังของภาษา

    ภาษาช่วยให้มนุษย์รู้จักคิดโดยแสดงออกผ่านทางการพูด  การเขียน และการกระทำ  ซึ่งเป็นผลจากการคิด  ถ้าไม่มีภาษามนุษย์จะคิดไม่ได้  ถ้ามนุษย์มีภาษาน้อย มีคำศัพท์น้อยความคิดของมนุษย์ย่อมแคบไม่กว้างไกล  ผู้ที่ใช้ภาษาได้ดีจะมีความคิดดีด้วย  ส่งผลให้การเรียนรู้ในสิ่งต่างๆดีขึ้นตามไปด้วย  ผู้ที่ใช้ภาษาได้ดีจะมีความคิดดีด้วย  เมื่ออ่านแล้วสามารถจับใจความและสรุปความได้  ย่อมส่งผลให้อ่านสาระวิชาความรู้ในแขนงต่างๆได้อย่างเข้าใจ  ดังนั้นผู้ที่จะเรียนวิชาใดๆให้ได้ดี  ควรจะมีทักษะทางภ อ่านเพิ่มเติม


ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

  ที่มา   
      บทความเรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มีที่มาจากหนังสือรวบรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯให้จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2533 ในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุครบ 3 รอบ โดย นิสิตคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลักษณะคำประพันธ์    

             ทุกข์ของชาวนาในบทกวี เป็นบทความแสดงความคิดเห็น ซึ่งเป็นบทความที่มีจุดมุ่งหมายที่จะแสดงความคิดเห็นในประเด็นใดประเด็นหนึ่ง  ความคิดเห็นที่มานำเสนอได้มาจากการวิเคราะห์ การใช้วิจารณญาณ อ่านเพิ่มเติม


นิราศนรินทร์คำโคลง

              ความเป็นมา

      นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา๑.๑ ลักษณะของนิราศ      พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิ  อ่านเพิ่มเติม




นิทานเวตาล

นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย  โดยมีชื่อเดิมว่า “เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ  

ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดยร้อยเอก เซอร์ ริชาร์ด เอฟ. เบอร์ตัน  ก็ได้นำมาแปลและเรียบเรียงแต่งแปลงเป็นสำนวนภาษาของตนเองให้คนอังกฤษอ่าน แต่ไม่ครบทั้ง 25 เรื่อง กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ได้ทรงแปลนิทานเวตาลจากฉบับของเบอร์ตัน จำนวน 9 เรื่อง และจากฉบับแปลสำนวนของ ซี. เอช. ทอว์นีย์   อีก 1 เรื่อง รวมเป็นฉบับภาษาไท อ่านเพิ่มเติม


อิเหนา

                อิเหนา  มีมาตั้งแต่ตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี มีเรื่องเล่ากันว่าพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศกับเจ้าฟ้าสังวาล  คือ  เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎได้ฟังนิทานปันหยีหรือเรื่องอิเหนาจากนางกำนัลชาวมลายูที่ได้มาจากเมืองปัตตานี พระราชธิดาทั้งสองพระองค์จึงพระราชนิพนธ์นิทานเรื่องนี้ขึ้น เจ้าฟ้ากุณฑลทรงนิพนธ์บทละครเรื่องของดาหลัง ส่วนเจ้าฟ้ามงกุฎทรงนิพนธ์เป็นละครเรื่อง  อิเหนา แต่คนทั่วไปมักเรียกบทพระราชนิพนธ์ของทั้งสองพระองค์นี้ว่า อิเหนาใหญ่ และอิเหนาเล็ก  นิทานปันหยีของไทยจึงมี ๒ สำนวนแต่นั้นมา ต่อมาสมัยรัตนโกสินทร์  พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชก็ทรงพระราชนิพนธ์บทละคร อิเหนา ขึ้น โดยยังคงเค้าโครงเรื่องเดิมต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้พระราชนิพ อ่านเพิ่มเติม

คำนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ

 คำนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) ซึ่งเป็นนักปราชญ์คนสำคัญของไทยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้รอบรู้ในวิชาภาษาไทยและได้ชื่อว่าเป็นข้าราชการที่จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ทั้งยังเ อ่านเพิ่มเติม

                                    270742_193145670735895_2864062_n